วันจันทร์ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2556

Joomla คืออะไร?

Joomla คือระบบที่ช่วยในการจัดการเนื้อหา(Content Management System: CMS) บนเว็บไซต์ เพื่อช่วยในการอานวยความสะดวก ลดขั้นตอน และความยุ่งยากในการบริหารจัดการเว็บไซต์ โดยที่ ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องมีความรู้ในด้านการเขียนโปรแกรม หรือออกแบบเว็บไซต์ ก็สามารถจัดทาเว็บไซต์ด้วยตัวเองได้
CMS : Content Management System (ระบบจัดการเนื้อหา)
ถ้าแปลตามตัว
 Content = เนื้อหา/บทความ
 Management=การจัดการ
 System =ระบบ
เพราะฉะนั้นจะได้ความหายตามตัวคือ ระบบบริหารการจัดการเนื้อหา แต่ที่จริงแล้ว CMS นี้ถูกนามาใช้ เรียกงานทางด้านเว็บไซต์ซะส่วนใหญ่ เ ขาจึงเรียกระบบนี้ว่าเป็นระบบบริการการจัดการเว็บไซต์ โดยที่ระบบนี้ นั้นนควาหมาย จะรวมไปถึงการจัดการข้อมูลต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร รูปภาพ ไฟล์งานต่างๆด้วย แล้วแต่ผู้ใช้งานจะเลือกหรือกาหนดความต้องการของตัวเอง
ส่วนประกอบของ Joomla
Joomla จะมีส่วนประกอบไปด้วย
 เทมเพลท (Template)
 โมดูล (Module)
 เนื้อหา (Content)
 คอมโพเน้น (Components)
เทมเพลท (Template) คือ หน้าตาของเว็บไซต์ สีสัน การจัดวางแบบ ตาแหน่ง บนเว็บไซต์ ซึ่งในส่วนนี้จะประกอบไปด้วย ส่วนของเนื้อหา โมดูลต่างๆ โมดูล (module) คือ ส่วนเสริมที่แสดงผลอยู่บนหน้าของเว็บไซต์ ตามตาแหน่งต่างๆ บนเทมเพลท เนื้อหา (Content) คือ เนื้อหาต่างๆ ที่ผู้ใช้ต้องการทาขึ้นแสดงบนเว็บ เช่น รายละเอียดต่างๆ โปรไฟล์บริษัท รูปภาพ ซึ่งถือได้ว่าส่วนของเนื้อหาจัดเป็น module แบบพิเศษกว่าได้ คอมโพเน้น (Components) คือ โปรแกรมเสริมความสามารถให้กับ Joomla
บทบาทหน้าที่ของ User Group Access levels for joomla
Joomla ได้แบ่งระดับการเข้าถึงข้อมูลไว้ 2 ระดับ คือ Front-end groups และ Administration section groups ซึ่งมีระดับการเข้าถึงและจัดการที่แตกต่างกันไป
Front-end groups มีด้วยกัน 4 กลุ่ม
ในกลุ่มนี้สามารถเข้าจัดการในส่วนใด ทางด้านหน้าเว็บไซต์
 Registered - ผู้ลงทะเบียน กลุ่มนี้อนุญาตให้ผู้ใช้เข้าสู่ระบบไปยังส่วนหน้าอินเตอร์เฟส. ผู้ใช้ที่ลงทะเบียนไม่สามารถมีร่วมกับเนื้อหาแต่พวกเขาอาจจะเข้าส่วนจัดการ อื่น ๆ ได้ เช่น เว็บบอร์ดหรือส่วนดาวน์โหลดส่วนถ้าเว็บไซต์ของท่านมี.
 Author - ผู้แต่ง กลุ่มนี้อนุญาตให้โพสต์เนื้อหาผ่านทางลิ้งก์ในเมนูผู้ใช้ พวกเขาสามารถส่งเนื้อหาใหม่เลือกตัวเลือกการแสดงรายการในหน้าแรกและเลือกวัน ที่สาหรับการเผยแพร่แต่พวกเขาไม่สามารถเผยแพร่เนื้อหาได้โดยตรง เมื่อเนื้อหาถูกส่งโดยระดับพวกเขาจะได้รับข้อความ ""ขอขอบคุณที่ให้การส่ง. การส่งของคุณจะถูกตรวจสอบก่อนที่การโพสต์ไปยังไซต์" พวกเขาสามารถแก้ไขบทความของพวกเขาเองเท่านั้นแต่เฉพาะเมื่อบทความที่ได้รับ การเผยแพร่และเห็นชอบ
 Editor - ผู้แก้ไขหรือผู้ตรวจสอบ กลุ่ม นี้อนุญาตให้ผู้ใช้โพสต์และแก้ไขใดๆ (ที่ไม่ใช่เฉพาะของตัวเอง) จากเนื้อหารายการจากด้านหน้าเว็บไซต์ นอกจากนี้ยังสามารถแก้ไขเนื้อหาที่ไม่ได้รับการเผยแพร่ ถ้าไซต์ของคุณใช้การติดตั้งดีฟอลต์ของตัวเลือกเมนู "ข่าว" ซึ่งเป็นตารางรายการ - ส่วนเนื้อหาประเภทบรรณาธิการยกเลิกการเผยแพร่จะเห็นบทความในรายการที่พวกเขา สามารถเลือกสาหรับการแก้ไขที่ในฐานะผู้เขียนหรือผู้เผยแพร่ (ที่ยังไม่ได้ลงทะเบียน)
 Publisher - กลุ่มนี้อนุญาตให้ผู้ใช้โพสต์การแก้ไขและเผยแพร่ใด ๆ (ไม่ใช่เฉพาะของตัวเอง) ผู้เผยแพร่สามารถทบทวนบทความทั้งหมดแก้ไขและเปลี่ยนการเผยแพร่ ยังสามารถพิจารณาเมื่อมีการบทความเพื่อเผยแพร่เมื่อมีผู้เขียน หรือผู้ที่ยังไม่ลงทะเบียนส่งบทความเข้ามา
Administration section groups ระดับผู้บริหารเว็บไซต์ มีด้วยกัน 3 ระดับ
ในกลุ่มนี้สามารถเข้าจัดการในส่วนใด ทางด้านหลังเว็บไซต์
 Manager - ผู้จัดการ กลุ่มนี้อนุญาตให้ถึงการสร้างข้อมูล และระบบข้อมูลอื่น ๆ ทางด้านหลังเว็บไซต์ พวกเขาสามารถเข้าสู่ระบบผ่านอินเตอร์เฟสผู้ดูแลระบบแต่สิทธิของตนเองและการ เข้าถึงถูกจากัด ในการจัดการเนื้อหา พวกเขาสามารถสร้างหรือแก้ไขเนื้อหา, การเข้าใช้บางส่วนเฉพาะคุณสมบัติเช่นเพิ่มการลบและแก้ไขหน้าและเมนูแต่พวก เขาไม่มีการเข้าถึง "Mechanics" ของ Joomla เช่นการจัดการผู้ใช้หรือความสามารถในการติดตั้งองค์ประกอบหรือโมดูล
 Administrator - ผู้ดูแลระบบ กลุ่มนี้อนุญาตให้เข้าถึงฟังก์ชันการบริหารสูงสุด ผู้ดูแลระบบมรสิทธิ์ในการจัดการผู้ใช้ สามารถเข้าถึงตั้งค่าในการติดตั้ง/ลบ คอมโพเน้นท์ โมดูล ปลั๊กอิน สามารถเข้าถึงและดูสถิติเว็บไซต์ สิ่งที่พวกเขาไม่สามารถดาเนินการได้คือ ติดตั้ง Template
 Super Administrator - ผู้ดูแลระบบแบบซุปเปอร์ กลุ่มนี้อนุญาตให้เข้าถึงการจัดการฟังก์ชั่นทั้งหมด
โครงสร้างการจัดเก็บเนื้อหาของ Joomla
Section คือหมวดหมู่ใหญ่ที่สุด ซึ่งข้างในจะเป็นที่เก็บ Category ย่อย ๆ ภายใน Category คือหมวดหมู่ที่ใช้สาหรับเก็บเนื้อหา บทความไว้ภายใน Category จะอยู่ภายใน Section Content คือ พื้นที่ ที่ใช้เก็บเนื้อหา Content จะอยู่ภายใน Category
Tip : คุณสามารถสร้างเนื้อหาโดยไม่ต้องกาหนด Section และ Category โดยการกาหนดเป็น Uncategorised แทน
ข้อสรุปสาหรับการใช้โอเพ่นซอฟต์แวร์ Joomla พอที่จะแยกได้เป็น 3 ประเด็น ได้แก่
1. ความมั่นคงและความมีมาตรฐานของซอฟต์แวร์ที่รับประกันว่าจะมีผู้พัฒนาขีดความสามารถให้สูงขึ้น และมีบุคคลากรที่จะพัฒนาต่อไป
2. ไม่จาเป็นต้องใช้บุคลากรเฉพาะทาง ขอเพียงเข้ารับการอบรม หรือฝึกฝนจากตาราคู่มือ ก็สามารถใช้งานได้
3. ประหยัดงบประมาณและเวลาในการพัฒนาเว็บไซต์ลงได้อย่างมากเมื่อเทียบกับฟังก์ชั่นที่ใช้งาน ทาให้สามารถสร้างเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็ว
ขอบคุณที่มา :
 www.joomlathaiclub.com
 http://www.joomlathaiclub.com
 IndySoft : Surapong Kiettipongsa


http://www.youtube.com/watch?v=9mFxWmJHXLU

http://www.youtube.com/watch?v=B-7jsURjLiU

Information Literacy support Anytime Anywhere Any pace Any Devices and for Anyone

http://www.ala.org/acrl/standards/informationliteracyhttp://www.ala.org/acrl/standards/informationliteracycompetencycompetency



Information Literacy Competency Standards for Higher Education

NOTE: While the Information Literacy Competency Standards for Higher Education are currently in force, during 2013-14, an ACRL task force is extensively revising them. Read more, and participate in an open forum during Fall 2014 or listen to recordings afterwards.
These standards were reviewed by the ACRL Standards Committee and approved by the Board of Directors of the Association of College and Research Libraries (ACRL) on January 18, 2000, at the Midwinter Meeting of the American Library Association in San Antonio, Texas. These standards were also endorsed by the American Association for Higher Education (October 1999) and the Council of Independent Colleges (February 2004). A  PDF of this document is available.
Print copies may be purchased from the Association of College and Research Libraries for $25.00 for a package of 25, including standard postage. Expedited shipping is available for an additional charge. Orders (along with check or money order made payable to Association of College and Research Libraries) should be sent to:
Association of College and Research Libraries
Attn: Standards Fulfillment
50 East Huron Street
Chicago, IL 60611
To order, call 312-280-2523, or email acrl@ala.org.

Introduction

Information Literacy Defined
Information Literacy and Information Technology
Information Literacy and Higher Education
Information Literacy and Pedagogy
Use of the Standards
Information Literacy and Assessment
Standards, Performance Indicators, and Outcomes
Standards for Proficiencies for Instruction Librarians and Coordinators: A Practical Guide

วันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2556

Please endorse me or recommend on for my request in MyLinkedIn



Thank you in advance.

Working and travelling is highly recommenced for the time being due to the world is shrink  and  flat
again and again.

Please visit my My Youtube



https://www.youtube.com/watch?v=t054CGL0NsI

Please feel free to discuss anything for our progressive learning.

Please visit and give some comments at my website: Education Research for the Future

please visit:
http://crodthon.circlecamp.com/index.php?page=home

Please feel free to discuss anything for our R&D assignments.

My Research

Balancing the Direct and Indirect Approaches: Implications for Ending the Violence in Southern Thailand (Qualitative Research) (http://www.researchgate.net/publication/235034535_Balancing_the_Direct_and_Indirect_Approaches_Implications_for_Ending_the_Violence_in_Southern_Thailand ; and http://www.dtic.mil/cgi-bin/GetTRDoc?AD=ADA514425)

oor please visit:



or purchase the issue at: 













The Author's Point of Contact(Rattanan RODTHONG) and published issues

MOBILE Phone: Intl Call 66 87-6830303                                                                          
e-mail: chaiyo31@hotmail.com;    rattanan31@gmail.com; rattanan.r@student.chula.ac.th;          
Skype: chaiyo.rodthong(US);                                                                                                           
Line: 31Jofare;                                                                                                                                  
Google+: Jo Fare;                                                                                                                             
 twitter: @JoFare                                                                                                                          Instagram: jofare                                                                                                                     
MyWebsite: http://crodthon.circlecamp.com/index.php?page=home ;                     
Blog:  Rrodthon’s blog; Jofare  http://jofare.wordpress.com/wp-admin/;  http://rrodthon.wordpress.com/                                                                                                                    
Facebook: Jo Fare                                                                                                                                      
Hi 5: Col Yo
MyYouTube: https://www.youtube.com/watch?v=t054CGL0NsI ;                                                           
SocialCam: Jo Fare(https://socialcam.com/feed)