วันจันทร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556

http://elearning.spu.ac.th/

http://elearning.spu.ac.th/

1 ความคิดเห็น:

  1. header_image
    Home
    About Us
    Articles
    Services
    FAQ
    QuantitativeResearch
    QuanlitativeResearch
    MixedMethodResearch
    MixedMethodResearch1
    Contact Us
    Section Layout 1


    เปรียบเทียบความแตกต่างของการวิจัยเชิงปริมาณกับเชิงคุณภาพ






    ข้อแตกต่าง


    การวิจัยเชิงปริมาณ


    การวิจัยเชิงคุณภาพ


    1. แนวคิดพื้นฐาน




    - ปฏิฐานนิยม (Positivism)



    - ปรากฎการณ์นิยม(Phenomenology)


    2. วัตถุประสงค์



    - มุ่งวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม





    - ต้องการเข้าใจความหมาย กระบวนการความรู้สึกนึกคิดโดยเชื่อมโยงกับบริบทของสังคม



    3. การกำาหนดสมมุติฐาน



    -กำาหนดล่วงหน้าก่อนทาการวิจัย



    - กำาหนดคร่าวๆพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์






    4. การคัดเลือกตัวอย่าง


    - สุ่มโดยอาศัยการสุ่มชนิดที่ทราบโอกาสหรือความน่าจะเป็นที่ถูกเลือก (Probability)






    - สุ่มโดยอาศัยการสุ่มชนิดที่ไม่ทราบโอกาสหรือความน่าจะเป็นที่จะถูกเลือกเป็นตัวอย่าง

    (Non-probability sampling)


    5. จำานวนตัวอย่าง




    - จำานวนมาก



    - จำานวนน้อย


    6. ขอบเขตการวิจัย



    - ศึกษาในวงกว้าง โดยเลือกเฉพาะกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มมา





    - ศึกษาแนวลึกเฉพาะกลุ่มที่สนใจ






    7. บทบาทของผู้วิจัย



    - แยกผู้วิจัยออกจากเรื่องที่ศึกษา


    - ผู้วิจัยเป็นเครื่องมือในการทาวิจัย


    8. วิธีการเก็บข้อมูล



    - แบบสอบถาม

    - แบบสัมภาษณ์




    - การสังเกต

    - การสัมภาษณ์เจาะลึก

    - การจัดสนทนากลุ่ม

    - การบันทึกประวัติชีวบุคคล


    9. การวิเคราะห์ข้อมูล



    - วิเคราะห์เชิงปริมาณโดยใช้สถิติช่วย

    (Statistical analysis)





    - วิเคราะห์เชิงตรรกะเป็นหลักอาจมีการวิเคราะห์เชิงปริมาณช่วยเล็กน้อย (content analysis)


    10. การรายงานผล



    - รายงานผลโดยอ้างอิงสถิติ (Report statistical analysis)





    - รายงานผลโดยอ้างอิงคาพูดหรือเรื่องราวจริงจากกลุ่มตัวอย่าง (Report rich narrative)



    11. การสรุปผล



    -นำาไปใช้อ้างอิงแทนประชาการทั้งหมดได้






    - ใช้อ้างอิงได้เฉพาะกลุ่ม


    12. ทักษะของนักวิจัย



    - มีความสามารถทางสถิติ



    - มีความละเอียดอ่อนในการสังเกต เก็บรวบรวมข้อมูล และการตีความ


    ตอบลบ