Mixed Data between Social Subjects and Science Studies including any others.
วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
อาเซียน+6 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์) AEM+3 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี)
ที่มาของแนวคิด "อาเซียน +6" นี้ เริ่มขึ้นครั้งแรกในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น (AEM-METI) และ AEM+3 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2549 โดยญี่ปุ่นเสนอให้กลุ่มผู้เชี่ยวชาญภาควิชาการ (Track II) ของกลุ่มประเทศ East Asia Summit (EAS ประกอบด้วยอาเซียน จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย) ทำการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้ง Comprehensive Economic Partnership in East Asia (CEPEA) ซึ่งเป็น FTA ระหว่างประเทศอาเซียน+6 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์)
วันพฤหัสบดีที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
ตัวเลขเกี่ยวกับ งป และ GDP
งบประมาณแผ่นดินไทย 2.55 ล้านบาท
GDP 12 ล้านล้านบาท น่าจะเพิ่ม 3.0-3.5 % ปี 2556 ลบภัยแล้ง 0.5%
งป กห 1.5 % GDP งป กห จะเพิ่ม 1 หมื่นล้านบาท ปี 2556
ศธ 7.0 % GDP
GDP 12 ล้านล้านบาท น่าจะเพิ่ม 3.0-3.5 % ปี 2556 ลบภัยแล้ง 0.5%
งป กห 1.5 % GDP งป กห จะเพิ่ม 1 หมื่นล้านบาท ปี 2556
ศธ 7.0 % GDP
คำทักทายอาเซียน
ทักทายอาเซียนของแต่ละประเทศ
คำทักทายอาเซียนของ บรูไน คือ – ซาลามัต ดาตัง
คำทักทายอาเซียนของ อินโดนีเซีย คือ – ซาลามัต เซียง
คำทักทายอาเซียนของ มาเลเซีย คือ – ซาลามัต ดาตัง
คำทักทายอาเซียนของ ฟิลิปปินส์ คือ – กูมุสตา
คำทักทายอาเซียนของ สิงคโปร์ คือ – หนีห่าว
คำทักทายอาเซียนของ ไทย คือ – สวัสดี
คำทักทายอาเซียนของ กัมพูชา คือ – ซัวสเด
คำทักทายอาเซียนของ ลาว คือ – สบายดี
คำทักทายอาเซียนของ พม่า คือ – มิงกาลาบา
คำทักทายอาเซียนของ เวียดนาม คือ – ซินจ่าว
คำทักทายอาเซียนของ บรูไน คือ – ซาลามัต ดาตัง
คำทักทายอาเซียนของ อินโดนีเซีย คือ – ซาลามัต เซียง
คำทักทายอาเซียนของ มาเลเซีย คือ – ซาลามัต ดาตัง
คำทักทายอาเซียนของ ฟิลิปปินส์ คือ – กูมุสตา
คำทักทายอาเซียนของ สิงคโปร์ คือ – หนีห่าว
คำทักทายอาเซียนของ ไทย คือ – สวัสดี
คำทักทายอาเซียนของ กัมพูชา คือ – ซัวสเด
คำทักทายอาเซียนของ ลาว คือ – สบายดี
คำทักทายอาเซียนของ พม่า คือ – มิงกาลาบา
คำทักทายอาเซียนของ เวียดนาม คือ – ซินจ่าว
คำทักทายอาเซียน
ทักทายอาเซียนของแต่ละประเทศ
คำทักทายอาเซียนของ บรูไน คือ – ซาลามัต ดาตัง
คำทักทายอาเซียนของ อินโดนีเซีย คือ – ซาลามัต เซียง
คำทักทายอาเซียนของ มาเลเซีย คือ – ซาลามัต ดาตัง
คำทักทายอาเซียนของ ฟิลิปปินส์ คือ – กูมุสตา
คำทักทายอาเซียนของ สิงคโปร์ คือ – หนีห่าว
คำทักทายอาเซียนของ ไทย คือ – สวัสดี
คำทักทายอาเซียนของ กัมพูชา คือ – ซัวสเด
คำทักทายอาเซียนของ ลาว คือ – สบายดี
คำทักทายอาเซียนของ พม่า คือ – มิงกาลาบา
คำทักทายอาเซียนของ เวียดนาม คือ – ซินจ่าว
คำทักทายอาเซียนของ บรูไน คือ – ซาลามัต ดาตัง
คำทักทายอาเซียนของ อินโดนีเซีย คือ – ซาลามัต เซียง
คำทักทายอาเซียนของ มาเลเซีย คือ – ซาลามัต ดาตัง
คำทักทายอาเซียนของ ฟิลิปปินส์ คือ – กูมุสตา
คำทักทายอาเซียนของ สิงคโปร์ คือ – หนีห่าว
คำทักทายอาเซียนของ ไทย คือ – สวัสดี
คำทักทายอาเซียนของ กัมพูชา คือ – ซัวสเด
คำทักทายอาเซียนของ ลาว คือ – สบายดี
คำทักทายอาเซียนของ พม่า คือ – มิงกาลาบา
คำทักทายอาเซียนของ เวียดนาม คือ – ซินจ่าว
The Author's POC
Line: 31Jofare; Facebook: (https //www.facebook.com/jo.fare.5); G+: Jo
Fare;
Instagram: Jo Fare; twitter: @jofare; Skype:
chaiyo.rodthong
Mybook : http://www.amazon.com/Balancing-Direct-Indirect-Approaches-
Implications- ebook/dp/B0070J2H0K
My Book: Morebooks.de website: https://www.morebooks.de/store/gb/book/balancing-the-direct-and- indirect-approaches/isbn/978-3-639-66614-4
http://www.amazon.co.uk/Balancing-Direct-Indirect-Approaches-Implications-ebook/dp/B0070J2H0K/ref=sr_1_2?s=books&ie=UTF8&qid=1413566696&sr=1-2&keywords=Balancing+the+Direct+and+Indirect+Approaches Skype: chaiyo.rodthong;
Line search ID: Jofare; Google+: Rattanan Rodthong; twitter:
@Jofare Instagram: MyYouTube: My
Youtube: search for Rattanan Rodthong; Diigo: https://www.diigo.com/user/jofare31
Blog: Rrodthon’s blog; Jofare http://jofare.wordpress.com/wp-admin/; http://rrodthon.wordpress.com/ : http://jofare.wordpress.com/ Prezi: http://prezi.com/jmq58grceywl/?utm_campaign=share&utm_medium=copy&rc=ex0share Facebook: Jo Fare(Jofare) https://www.facebook.com/jo.fare.5?fref=ts Tumblr: https://www.tumblr.com/dashboard
SocialCam: Jo Fare(https://socialcam.com/feed) Pinterest: http://www.pinterest.com/chaiyo31/
Blogger:Jofare: jofare.blogspot.com: http://www.blogger.com/blogger.g?blogID=863403210920669417#allposts
Blog: Rrodthon’s blog; Jofare http://jofare.wordpress.com/wp-admin/; http://rrodthon.wordpress.com/ : http://jofare.wordpress.com/ Prezi: http://prezi.com/jmq58grceywl/?utm_campaign=share&utm_medium=copy&rc=ex0share Facebook: Jo Fare(Jofare) https://www.facebook.com/jo.fare.5?fref=ts Tumblr: https://www.tumblr.com/dashboard
SocialCam: Jo Fare(https://socialcam.com/feed) Pinterest: http://www.pinterest.com/chaiyo31/
Blogger:Jofare: jofare.blogspot.com: http://www.blogger.com/blogger.g?blogID=863403210920669417#allposts
Master Thesis: Balancing Direct and Indirect Approach for Ending Violence in the Southern of Thailand,
Master
Thesis: Balancing Direct and Indirect Approach for Ending Violence in the
Southern of Thailand,
(http://www.researchgate.net/publication/235034535_Balancing_the_Direct_and_Indirect_Approaches_Implications_for_Ending_the_Violence_in_Southern_Thailand ; and http://www.dtic.mil/cgi-bin/GetTRDoc?AD=ADA514425) Also
published in
AmazonBook: http://www.amazon.com/Balancing-Direct-Indirect-Approaches-Implications-ebook/dp/B0070J2H0K
Morebooks.de website: https://www.morebooks.de/store/gb/book/balancing-the-direct-and-indirect-approaches/isbn/978-3-639-66614-
http://www.amazon.co.uk/Balancing-Indirect-Approaches-Rodthong- Rattanan/dp/3639666143
http://www.amazon.co.uk/Balancing-Indirect-Approaches-Rodthong- Rattanan/dp/3639666143
http://www.amazon.com/Balancing-Direct-Indirect-Approaches-Implications-ebook/dp/B0070J2H0K/ref=sr_1_2?s=books&ie=UTF8&qid=1413566696&sr=1-2&keywords=Balancing+the+Direct+and+Indirect+Approaches
https://www.shuyuan.sg/store/gb/book/balancing-the-direct-and-indirect-approaches/isbn/978-3-639-66614-4
https://www.shuyuan.sg/store/gb/book/balancing-the-direct-and-indirect-approaches/isbn/978-3-639-66614-4
การบริหารการศึกษา 1.การบริหารบุคคล 2. การบริหารวิชาการ 3.การบริหารงบประมาณ 4.การบริหารทั่วไป
การบริหารการศึกษา
1.การบริหารบุคคล 2. การบริหารวิชาการ
3.การบริหารงบประมาณ 4.การบริหารทั่วไป
กรอบการบริหารวิชาการ
1. การจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
2. การจัดกระบวนrพัฒนาการเรียนรู้
3. การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และ เทคโนโลยี
4. การวัดและประเมินผล
5. การนิเทศ ติดตาม กำกับ
6. การประกันคุณภาพการศึกษา
1.การบริหารบุคคล 2. การบริหารวิชาการ
3.การบริหารงบประมาณ 4.การบริหารทั่วไป
กรอบการบริหารวิชาการ
1. การจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
2. การจัดกระบวนrพัฒนาการเรียนรู้
3. การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และ เทคโนโลยี
4. การวัดและประเมินผล
5. การนิเทศ ติดตาม กำกับ
6. การประกันคุณภาพการศึกษา
ศวพท.วท.กห.
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการทหาร กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม (ศวพท.วท.กห.) เลขที่ 175 ซอยตรีมิตร ถนน พระราม 4 แขวงพระโขนง แขวง พระโขนง เขต คลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 http://goo.gl/maps/HKde8
วท.กห.
กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม (วท.กห.) Ban Mai, Pak Kret District, Nonthaburi 11120 http://goo.gl/maps/T1hX6
วันพุธที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
Acadermic Books of the Author
1. Master Thesis: Balancing Direct and Indirect Approach for Ending
Violence in the Southern of Thailand (http://www.researchgate.net/publication/235034535_Balancing_the_Direct_and_Indirect_Approaches_Implications_for_Ending_the_Violence_in_Southern_Thailand ; and http://www.dtic.mil/cgi-bin/GetTRDoc?AD=ADA514425)
Also published in AmazonBook: http://www.amazon.com/Balancing-Direct-Indirect-Approaches-Implications-ebook/dp/B0070J2H0KAmazon.uk.com/
2. The Media, Politics and People's
Considerations
3. The Transformation of Australia
Policy on Immigration since WWII
4. The Four
Period of Change of the Bilateral Relationship between Australia and China
since WWII
5. The cause and effect between the
climate change and the worldwide earthquakes and Tsunami
Resume of the Author
2.
Education:
·
Bachelor of Science (BSc.), Chulachomklao Royal
Military Academy in 1995
·
Master of Public Administration, Burapha
University, Chonburi Province in 2009
·
Master of Science in Defense Analysis, Naval
Postgraduate School, California, United States in 2009 (Advisor: Prof. George Lober, Asst. Prof. Leo Blanken)
·
Master of Arts (Political and International
Studies, University of New England), New South Wales, Australia
in 2012 (Advisor: Dr. Ken Fraser)
·
Ph.D. Student in Educational Administration, Chulalongkon
University, since 2011
3.
Working
Backgrounds:
· Information
Collection Team Leader, Udon-Thani Province and Nakonrachasima Province from
1996-2001
· Tsunami
Disaster Relief Operations, Pang-Nga Province in 2004
· Mobile
Decommissioning Team Leader, Aceh Monitoring Mission: AMM), Ache Province, Indonesia
in 2006 (Supervisors: Colonel Kalle Liesinen (Finish);
Colonel Wolfram Hoffman (German); Colonel Tham Chongy (Singapore)
· Instructor
in the Army War College since 2010-present
1. Point
of Contacts:
Cellphone:
087-6830303
Line: 31Jofare; Facebook: (https //www.facebook.com/jo.fare.5); G+: Jo
Fare;
Instagram: Jo Fare; twitter: @jofare; Skype:
chaiyo.rodthong
ASEAN Currency : สกุลเงินของประเทศสมาชิกอาเซียน
ASEAN Currency : สกุลเงินของประเทศสมาชิกอาเซียน
Brunei Dollar
Image source:http://en.wikipedia.org/wiki/Brunei_dollar
ดอลล่าร์บรูไน ดารุสซาลาม เป็นสกุลเงินของประเทศบรูไนดารุสซาลาม
*1 ดอลล่าร์บรูไน เท่ากับประมาณ 25 บาทไทย
*1 ดอลล่าร์บรูไน เท่ากับประมาณ 25 บาทไทย
The Brunei Dollar (BND) is the official currency of Brunei Darussalam.
The current exchange rate of the Brunei Dollar (BND) to the Thai Baht (THB) is approximately 1 BND to 25 THB.
ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 1 ดอลลาร์, 5 ดอลลาร์, 10 ดอลลาร์, 20 ดอลลาร์ , 25 ดอลลาร์, 50 ดอลลาร์, 100 ดอลลาร์, 500 ดอลลาร์ , 1,000 ดอลลาร์ และ 10,000 ดอลลาร์
Cambodian Riel
Image source:http://en.wikipedia.org/wiki/Cambodian_riel
เรียล (Riel) เป็นสกุลเงินของประเทศกัมพูชา
*127 เรียล เท่ากับประมาณ 1 บาท
The Cambodian Riel (KHR) is the official currency of Cambodia.
127 Cambodian Riel = 1 Thai Baht
Indonesian Rupiah
เรียล (Riel) เป็นสกุลเงินของประเทศกัมพูชา
*127 เรียล เท่ากับประมาณ 1 บาท
The Cambodian Riel (KHR) is the official currency of Cambodia.
127 Cambodian Riel = 1 Thai Baht
ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 50 เรียล 100 เรียล 200 เรียล 500 เรียล 1,000 เรียล 2,000 เรียล 5,000 เรียล 10,000 เรียล 20,000 เรียล 50,000 เรียล และ 100,000 เรียล
Indonesian Rupiah
Image source:http://en.wikipedia.org/wiki/Indonesian_rupiah
รูเปียห์ (Rupiah) เป็นสกุลเงินของประเทศอินโดนีเซีย
* 1,000 รูเปียห์ เท่ากับประมาณ 3 บาท
The Indonesian Rupiah (IDR) is the official currency of Indonesia.
1000 Indonesian Rupiah = 3 Thai Baht
รูเปียห์ (Rupiah) เป็นสกุลเงินของประเทศอินโดนีเซีย
* 1,000 รูเปียห์ เท่ากับประมาณ 3 บาท
The Indonesian Rupiah (IDR) is the official currency of Indonesia.
1000 Indonesian Rupiah = 3 Thai Baht
ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 1,000 รูเปียห์, 2,000 รูเปียห์ , 5,000 รูเปียห์, 10,000 รูเปียห์, 20,000 รูเปียห์ 50,000 รูเปียห์และ 100,000 รูเปียห์
Lao Kip
Image source: http://en.wikipedia.org/wiki/Lao_kip
กีบ (Kip) เป็นสกุลเงินของประเทศลาว
The Lao Kip (LAK) is the official currency of Laos.
* 1,000 กีบ เท่ากับประมาณ 4 บาทไทย
1000 Lao Kip = 4 Thai Baht
Malaysian Ringgit
กีบ (Kip) เป็นสกุลเงินของประเทศลาว
The Lao Kip (LAK) is the official currency of Laos.
* 1,000 กีบ เท่ากับประมาณ 4 บาทไทย
1000 Lao Kip = 4 Thai Baht
ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 500 กีบ, 1,000 กีบ, 2,000 กีบ, 5,000 กีบ, 10,000 กีบ, 20,000 กีบ และ 50,000 กีบ
Malaysian Ringgit
Image source: http://flagpedia.net/currency/others/malaysian-ringgit
ริงกิต (Ringgit) เป็นสกุลเงินของประเทศมาเลเซีย
1 ริงกิตมาเลเซียเท่ากับประมาณ 10 บาท
The Malaysian Ringgit (MYR) is the official currency of Malaysia.
ริงกิต (Ringgit) เป็นสกุลเงินของประเทศมาเลเซีย
1 ริงกิตมาเลเซียเท่ากับประมาณ 10 บาท
The Malaysian Ringgit (MYR) is the official currency of Malaysia.
*1 Malaysian Ringgit approximately equals 10 Thai Baht
ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 1 ริงกิต, 5 ริงกิต , 10 ริงกิต, 20 ริงกิต, 50 ริงกิต และ 100 ริงกิต
Myanmar Kyat
Image source: http://en.wikipedia.org/wiki/Burmese_kyat
จ๊าด (Kyat) เป็นสกุลเงินของประเทศพม่า
* 26 จ๊าดเท่ากับประมาณ 1 บาทไทย
The Myanmar Kyat (MMK) is the official currency of Myanmar.
26.0460 Myanmar Kyat = 1 Thai baht
จ๊าด (Kyat) เป็นสกุลเงินของประเทศพม่า
* 26 จ๊าดเท่ากับประมาณ 1 บาทไทย
The Myanmar Kyat (MMK) is the official currency of Myanmar.
26.0460 Myanmar Kyat = 1 Thai baht
ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 50 ปยา, 1 จ๊าด, 5 จ๊าด, 20 จ๊าด, 50 จ๊าด, 100 จ๊าด, 200 จ๊าด, 500 จ๊าด, 1,000 จ๊าด , 5,000 จ๊าด และ 10,000 จ๊าด
Philippine Peso
Image source:http://en.wikipedia.org/wiki/Philippine_peso
เปโซ (Peso) เป็นสกุลเงินของประเทศฟิลิปปินส์
*1.40 เปโซ เท่ากับประมาณ 1 บาท
The Philippine Peso (PHP) is the official currency of the Philippines.
1.40 Philippine Peso = 1 Thai Baht
เปโซ (Peso) เป็นสกุลเงินของประเทศฟิลิปปินส์
*1.40 เปโซ เท่ากับประมาณ 1 บาท
The Philippine Peso (PHP) is the official currency of the Philippines.
1.40 Philippine Peso = 1 Thai Baht
ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 20 เปโซ, 50 เปโซ, 100 เปโซ , 200 เปโซ, 500 เปโซ และ 1,000 เปโซ
Thai Baht
Image credit:http://flagpedia.net/currency/others/thai-baht
บาท (Baht) เป็นสกุลเงินของประเทศไทย
The Thai Baht (THB) is the official currency of Thailand.
บาท (Baht) เป็นสกุลเงินของประเทศไทย
The Thai Baht (THB) is the official currency of Thailand.
ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 20 บาท, 50 บาท , 100 บาท , 500 บาท และ 1,000 บาท
Singapore Dollar
ดอลลาร์ (Dollar) เป็นสกุลเงินของประเทศสิงคโปร์
* 1 ดอลล่าร์สิงคโปร์ เท่ากับประมาณ 25 บาท
The Singapore Dollar (SGD) is the official currency of Singapore.
1 Singapore Dollar approximately equals 25 Thai Baht.
* 1 ดอลล่าร์สิงคโปร์ เท่ากับประมาณ 25 บาท
The Singapore Dollar (SGD) is the official currency of Singapore.
1 Singapore Dollar approximately equals 25 Thai Baht.
ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 2 ดอลลาร์, 5 ดอลลาร์ , 10 ดอลลาร์ , 50 ดอลลาร์, 100 ดอลลาร์, 1,000 ดอลลาร์ และ 10,000 ดอลลาร์
Vietnamese Dong
ด่ง (Dong) เป็นสกุลเงินของประเทศเวียดนาม
* 652 ด่ง เท่ากับประมาณ 1 บาทไทย
The Vietnamese Dong (VND) is the official currency of Vietnam.
652 Vietnamese Dong = 1 Thai Baht
ธนบัตรที่พิมพ์ออกใช้ในปัจจุบันนี้มีฉบับละ 1,000 ด่ง 2,000 ด่ง 5,000 ด่ง 10,000 20,000 ด่ง 50,000 ด่ง 100,000 ด่ง 200,000 ด่ง และ 500,000 ด่ง
คำนวณสกุลเงินประเทศสมาชิกอาเซียนที่นี่
Information compiled by Kru Ekachai.
Last updated : May 25th, 2014.
เรียบเรียงจาก
หนังสือบันทึกการเดินทางอาเซียน โดยกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
หนังสือบันทึกการเดินทางอาเซียน โดยกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
National Dishes of ASEAN : อาหารยอดนิยมของประเทศสมาชิกอาเซียน
National Dishes of ASEAN : อาหารยอดนิยมของประเทศสมาชิกอาเซียน
ภูมิปัญญาด้านการทำอาหารของชาวอาเซียนไม่แพ้ภูมิภาคใดในโลก อาหารชนิดใดจะเป็นที่ขึ้นชื่อและได้รับความนิยม จนอาจกล่าวได้ว่าเป็นอาหารประจำชาติของ 10 ประเทศอาเซียน ที่นี่มีคำตอบ
บรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)
อัมบูยัต (Ambuyat) จัดเป็นอาหารประจำชาติ ที่มีชื่อเสียงที่สุดของประเทศบรูไน ดารุสซาลาม มีลักษณะคล้ายข้าวต้ม หรือโจ๊ก มีส่วนผสมของแป้งสาคูเป็นหลัก โดยทั่วไปอัมบูยัต คือ อาหารที่รับประทานแทนข้าว โดยจะมีอาหารจานหลักและเครื่องเคียงอย่างน้อย 3อย่าง วางอยู่โดยรอบ
Ambuyat is considered the most popular delicacy in Brunei. It is made from sago and eaten by dipping a serving in a hot and thick sauce called cacah. Ambuyat, in replacement of rice, is served with a minimum of three main and side dishes.
Amok is a traditional Cambodian dish. It's fish mixed with curry sauce( kroeung) , coconut milk and steamed in a boat made origami fashion from a banana leaf.
อินโดนีเซีย (Indonesia)
กาโด กาโด (Gado Gado) เป็นหนึ่งในอาหารยอดนิยมของอินโดนีเซียคล้ายกับสลัดแขก ซึ่งจะประกอบด้วยถั่วเขียว มันฝรั่ง ถั่วงอก เต้าหู้ ไข่ต้มสุก กะหล่ำปลี ข้าวเกรียบกุ้ง รับประทานกับซอสถั่วที่มีลักษณะเหมือนซอสสะเต๊ะ
Gado-Gado is one of the well-known dishes from Indonesia.It is vegetable salad with peanut sauce. It is usually served with tomato wedges, bean sprouts, tofu, cabbage and boiled eggs.
ลาว (Laos)
ซุบไก่ (Chicken Soup) เป็นหนึ่งในอาหารพื้นเมืองของประเทศลาว มีส่วนผสมในการประกอบอาหาร คือ ตะไคร้ ใบสะระแหน่ กระเทียม และหอมแดง ทั้งนี้ อาหารลาวโดยส่วนใหญ่มักจะมีผักและสมุนไพรเป็นส่วนผสมในการปรุง
Chicken soup is a traditional Lao dish. Lemongrass, basil leaves, garlic and onions are important ingredients. Undoubtedly, Lao food is one of the greatest and healthiest cuisines with many types of fresh herbs.
มาเลเซีย (Malaysia)
นาซิ เลอมัก (Nasi Lemak) เป็นหนึ่งในอาหารยอดนิยมของประเทศมาเลเซีย เป็นข้าวผัดกับกะทิและสมุนไพร นาซิ เลอมัก เสิร์ฟพร้อมกับปลากะตักทอด แตงกวาหั่น ไข่ต้มสุกและถั่วอบ นาซิ เลอมัก แบบดั้งเดิม จะห่อในใบตองและรับประทานเป็นอาหารเช้า
Nasi Lemak is one of the well-known dishes from Malaysia. It is Malaysian coconut milk rice with dried anchovies. Serve hot or cold with fried peanuts, crispy anchovies, cucumber slices, boiled eggs and sweet chilli paste.
Nem หรือ เปาะเปี๊ยะเวียดนาม เป็นหนึ่งในอาหารพื้นเมืองที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในเวียดนาม แผ่นเปาะเปี๊ยะทำจากแผ่นแป้งที่ทำจากข้าวเจ้า โดยไส้เปาะเปี๊ยะอาจเป็นไก่ หมู กุ้ง ห่อรวมกับผักต่าง ๆ นับเป็นอาหารยอดนิยมที่สามารถรับประทานได้ทั่วไปในเวียดนาม
Nem is one of Vietnam’s favourite dishes. It is very easy to prepare. Ingredients used for Nem comprise of lean minced pork, sea crabs or unshelled shrimps, mushroom , dried onion, duck eggs, pepper, salt and different kinds of seasoning. All are mixed thoroughly before being wrapped with transparent rice paper into small rolls. These rolls are then fried in boiling oil.
ฟิลิปปินส์ (Philippines)
Image credit:http://en.wikipedia.org/wiki/File:Chicken_adobo.jpg
อโดโบ้ (Adobo) เป็นหนึ่งในอาหารยอดนิยมของประเทศฟิลิปปินส์ เป็นอาหารที่มีต้นกำเนิดมาจากภาคเหนือของฟิลิปปินส์และเป็นที่นิยมของนักเดินทางหรือนักเดินเขา อโดโบ้ทำจากหมูหรือไก่ที่ผ่านกรรมวิธีหมักและปรุงรสโดยจะใส่ซีอิ๊วขาว น้ำส้มสายชู กระเทียมสับ ใบกระวาน พริกไทยดำ นำไป ทำให้สุกโดยใส่ในเตาอบหรือทอด และรับประทานกับข้าว
Adobo is the most popular Filipino dish.It can be made with either chicken or pork, but it is typically made with chicken. It is easily cooked by adding the pork and chicken to the pan. Then add 2 cups of water, 1/4 cup of soy sauce, vinegar, paprika and the bay leaves. After that bring to a boil and cover and simmer for 30 minutes or when meat is tender. It is typically served with steamed white rice.
สิงคโปร์ (Singapore)
Image credit:http://en.wikipedia.org/wiki/File:Laksa.JPG
ลักสา (Laksa) เป็นก๋วยเตี๋ยวต้มยำ (ใส่กะทิ) มีลักษณะคล้ายข้าวซอยของไทย โดยเส้นก๋วยเตี๋ยวจะมีลักษณะคล้าย vermicelli ซึ่งเป็นหนึ่งในเส้นสปาเกตตีของอิตาลี
Laksa is spicy noodle that is popular in Singapore. It is a noodle dish in coconut milk and curry soup.
ไทย (Thailand)
ต้มยำกุ้ง (Tom Yam Goong) เป็นอาหารที่โด่งดังมากที่สุดของประเทศไทย ชาวต่างชาติจะรู้จักต้มยำกุ้งมากกว่าต้มยำชนิดอื่น ๆ การปรุงต้มยำกุ้งจะเน้นรสชาติเปรี้ยวและเผ็ดเป็นหลัก จะออกเค็มและหวานเล็กน้อย มีเครื่องเทศที่ใส่ในน้ำแกงที่สำคัญคือ ใบมะกรูด ตะไคร้ ส่วนผักที่นิยมใส่ในต้มยำ ได้แก่ มะเขือเทศ เห็ดฟาง เห็ดนางฟ้า ใบผักชี ส่วนเครื่องปรุงที่จำเป็นต้องใส่ คือ มะนาว น้ำปลา น้ำตาล และน้ำพริกเผา
Tom Yum Goong (Thai Spicy Soup with Prawns) is the name given to a very popular Thai soup that is hot, spicy and sour. It is made with prawns. It gives a delicious and unusual taste of being hot whilst slightly sour. The basic ingredients are lemongrass, galangal, kaffir lime leaves, fish sauce, red chillies, Thai chilli paste, lime juice, mushrooms and tomatoes.
พม่า (Myanmar)
หล่าเพ็ด (Lahpet) เป็นอาหารประจำชาติของพม่าที่มีลักษณะคล้ายกับยำเมี่ยงของไทย โดยรับประทานกับเครื่องเคียง เช่น ใบชาหมัก กระเทียมเจียว ถั่วชนิดต่าง ๆ งาคั่ว กุ้งแห้ง ขิง มะพร้าวคั่ว เป็นต้น
Lahpet is a national dish of Myanmar. It is served traditionally in a shallow lacquer ware dish called lahpet ohk with a lid and divided into small compartments - pickled tea is laced with sesame oil in a central compartment surrounded, in their own compartments, by other ingredients namely crisp fried garlic, peas and peanuts, toasted sesame, crushed dried shrimp, preserved shredded ginger and fried shredded coconut.
Information compiled by Ekachai Phaichamnan.
Last updated : 21 July 2013.
เรียบเรียงจาก
หนังสือบันทึกการเดินทางอาเซียน โดยกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ www.globalgourmet.com www.rasamalaysia.com www.1asiafoodguide.com www.siamsouth.com www.wikipedia.org
http://aseancorner.blogspot.com/2011/11/national-dishes-of-asean.html
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)