Mixed Data between Social Subjects and Science Studies including any others.
วันเสาร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2561
วันศุกร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2561
วันอังคารที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2561
วันจันทร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2561
วันอาทิตย์ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2561
วันเสาร์ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2561
คุณลักษณะ(Attributes)
คุณลักษณะ(Attributes)
สำหรับคุณลักษณะนั้นสืบเนื่องจาก Competency ซึ่งประกอบด้วย ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และคุณลักษณะ ในด้านต่างๆ เช่น ทางพฤติกรรม (Attributes) ของบุคคล ซึ่งจำเป็นต้องมีในการปฏิบัติงาน ตำแหน่ง หนึ่ง ๆ เพื่อให้ประสบความสำเร็จ ได้ผลงานตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร
Self-concept : แรงจูงใจหรือทัศนคติ (Motive/Attitude) แตเปนแรงขับภายใน หรืออุปนิสัย บทบาทที่แสดงต่อสังคม แรผลักดันเบื้องลึก ที่ทําใหบุคคลแสดงพฤติกรรมที่ตนมุงหวังไปสูสิ่งที่เปนเปาหมายของเขา ตัวอยาง การตองการความสําเร็จ เปนแรงจูงใจที่กอใหเกิดแนวคิดหรือทัศนคติที่ตองการ สรางผลงานที่ดีแตความสามารถในการทํางานใหสําเร็จไดตรงตามเวลาที่กําหนด ถือเปน“สมรรถนะ” ซึ่งสิ่งเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อความสำเร็จของงานมากกว่า 80% มากกว่า ความรู้ และ ทักษะ ซึ่งมีผลต่องานเพียง 10-20 %[1]
สำหรับคุณลักษณะนั้นสืบเนื่องจาก Competency ซึ่งประกอบด้วย ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และคุณลักษณะ ในด้านต่างๆ เช่น ทางพฤติกรรม (Attributes) ของบุคคล ซึ่งจำเป็นต้องมีในการปฏิบัติงาน ตำแหน่ง หนึ่ง ๆ เพื่อให้ประสบความสำเร็จ ได้ผลงานตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร
Self-concept : แรงจูงใจหรือทัศนคติ (Motive/Attitude) แตเปนแรงขับภายใน หรืออุปนิสัย บทบาทที่แสดงต่อสังคม แรผลักดันเบื้องลึก ที่ทําใหบุคคลแสดงพฤติกรรมที่ตนมุงหวังไปสูสิ่งที่เปนเปาหมายของเขา ตัวอยาง การตองการความสําเร็จ เปนแรงจูงใจที่กอใหเกิดแนวคิดหรือทัศนคติที่ตองการ สรางผลงานที่ดีแตความสามารถในการทํางานใหสําเร็จไดตรงตามเวลาที่กําหนด ถือเปน“สมรรถนะ” ซึ่งสิ่งเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อความสำเร็จของงานมากกว่า 80% มากกว่า ความรู้ และ ทักษะ ซึ่งมีผลต่องานเพียง 10-20 %[1]
วันจันทร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2561
วันเสาร์ที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2561
คุณวุฒิอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ ดร.รัฐนันท์ รถทอง
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ที่
|
ตำแหน่งวิชาการ
|
ชื่อ-สกุล
|
คุณวุฒิ
|
สาขาวิชา
|
สถาบัน
|
พ.ศ.
|
1
|
อาจารย์ ดร.
Dr.
|
รัฐนันท์ รถทอง
Rattanan Rodthong
|
ค.ด.
|
บริหารการศึกษา
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
2559
|
M.A.
|
Political and International Studies
|
University of New England, Australia
|
2555
|
|||
รป.ม.
|
บริหารทั่วไป
|
ม.บูรพา
|
2552
|
|||
วท.บ.
|
บริหารทั่วไป
|
รร.จปร.
|
2538
|
ฟอร์มเอกสารรายวิชา Blended Education
1.1 จุดประสงค์
เพื่อให้
1.2
วิธีดำเนินการศึกษา
1.3 การวัดและประเมินผล (100%)
1.2.1 การเรียนแบบชั้นเรียนประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
และ การถามคำถามหรือแสดงความคิดเห็นของผู้เรียน (20%)
1.2.2 การเรียนแบบ e-learning/Online
Learning ประเมินระยะเวลาการเข้าเรียนทางออนไลน์
และการโต้แย้งในการถามตอบในห้องเรียนออนไลน์ (30%)
1.2.3 การประเมินจากข้อสอบ
(50%)
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบ
ระดับ
|
ตัวชี้วัด
|
คะแนน
|
1
|
ผู้สอบเขียนแสดงข้อมูลที้ได้เรียนจากการบรรยายในชั้นเรียนและห้องเรียนออนไลน์
|
30-39%
|
2
|
ผู้สอบเขียนแสดงข้อมูลในข้อ
1 และแนวคิดสร้างสรรค์ เพิ่มเติม หรือทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ หรือแนวคิดใหม่ๆเชิงนวรรตกรรม
|
40-50%
|
1.2.4 หลังจากนั้นนำคะแนนทั้งหมดมารวมกันและตัดเกรดในระบบอักษร
F ถึง A ตามระเบียบการวัดและประเมินผล
1.4 อาจารย์ประจำวิชา: ดร. รัฐนันท์ รถทอง
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ที่
|
ตำแหน่งวิชาการ
|
ชื่อ-สกุล
|
คุณวุฒิ
|
สาขาวิชา
|
สถาบัน
|
พ.ศ.
|
1
|
อาจารย์ ดร.
Dr.
|
รัฐนันท์ รถทอง
Rattanan Rodthong
|
ค.ด.
|
บริหารการศึกษา
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
2559
|
M.A.
|
Political and International Studies
|
University of New England, Australia
|
2555
|
|||
รป.ม.
|
บริหารทั่วไป
|
ม.บูรพา
|
2552
|
|||
วท.บ.
|
บริหารทั่วไป
|
รร.จปร.
|
2538
|
หัวข้อร่างแผนงานประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน(APSC)
ภายหลังปี ๒๕๕๘ (๒๕๕๙-๒๕๖๓)
๑.
ภาพรวม
ผลักดันการดำเนินการตามแผนงานประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนฉบับใหม่ (๒๕๕๙ –
๒๕๖๘) (กต.)
๒.
การบริหารจัดการชายแดน (สมช.)
๓.
การเสริมสร้างความมั่นคงทางทะเล (สมช.)
๔.
การแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ (ตร.)
๕.
การต่อต้านการก่อการร้าย (สมช.)
๖.
เสริมสร้างความร่วมมือด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน
(ป.ป.ส.)
๗.
การเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและการทูตเชิงป้องกัน
(กต.)
๘.
การเสริมสร้างศักยภาพในการปฏิบัติการทางทหารร่วมกันของอาเซียน
(กห.)
๙.
การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
(กต.)
๑๐. การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและการส่งเสริมหลักธรรมาภิบาล
(กกต.)
๑๑. การสร้างความพร้อมของระบบราชการไทยเพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน
(กพร.)
๑๒. การดำเนินการเพื่อสนับสนุนเสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและเสาประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ยธ.)
๑๓. การดำเนินการด้านกฎหมาย
(ยธ.)
หัวข้อร่างแผนงานประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน(APSC) ภายหลังปี ๒๕๕๘ (๒๕๕๙-๒๕๖๓)
หัวข้อร่างแผนงานประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน(APSC)
ภายหลังปี ๒๕๕๘ (๒๕๕๙-๒๕๖๓)
๑. 1 ภาพรวม
ผลักดันการดำเนินการตามแผนงานประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนฉบับใหม่ (๒๕๕๙ –
๒๕๖๘) (กต.)
๒. 2 การบริหารจัดการชายแดน (สมช.)
๓. 3 การเสริมสร้างความมั่นคงทางทะเล (สมช.)
๔. 4 การแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ (ตร.)
๕. 5 การต่อต้านการก่อการร้าย (สมช.)
๖. 6 เสริมสร้างความร่วมมือด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน
(ป.ป.ส.)
๗. 7 การเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและการทูตเชิงป้องกัน
(กต.)
๘. 8 การเสริมสร้างศักยภาพในการปฏิบัติการทางทหารร่วมกันของอาเซียน
(กห.)
๙. 9 การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
(กต.)
๑ 10 การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและการส่งเสริมหลักธรรมาภิบาล
(กกต.)
๑ 11 การสร้างความพร้อมของระบบราชการไทยเพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน
(กพร.)
๑ 12 การดำเนินการเพื่อสนับสนุนเสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและเสาประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ยธ.)
๑ 13 การดำเนินการด้านกฎหมาย
(ยธ.)
การบริหารการศึกษาสำหรับบุคลากรประจำการ
การบริหารการศึกษาสำหรับบุคลากรประจำการ
1.การบริหารบุคคล 2. การบริหารวิชาการ
3.การบริหารงบประมาณ 4.การบริหารทั่วไป
1.การบริหารบุคคล 2. การบริหารวิชาการ
3.การบริหารงบประมาณ 4.การบริหารทั่วไป
ระดับของวัฒนธรรมองค์การ
เอ็ดการ์ ชายน์ (Edgar Schein) เสนอวัฒนธรรมองค์การมี 3 ระดับ คือ
1. วัฒนธรรมทางกายภาพ (Artifacts) : วัฒนธรรมทางกายภาพที่มนุษย์สร้ างขึ้น ซึ่งมองเห็นและสัมผัสได้ง่าย จับต้องได้ สามารถได้ยิน หรือรู้สึกได้ง่ายเมื่อเข้ าไปในองค์การใดองค์การหนึ่ง เป็นระดับวัฒนธรรมพื้นผิวที่สุด จำแนกได้ 3 ประเภทคือ
ประเภทกายภาพ : ศิลปะการออกแบบ Logo ตึก อาคาร/การตกแต่ง การแต่งตัวเครื่องแบบ วัตถุสิ่งของอุปกรณ์ เฟอร์นิเจอร์ในองค์การ การวาง Lay out เช่น ตึกจะไม่มีชั้น /ห้อง 13 ในอเมริกา
ประเภทพฤติกรรม : พิธีกรรมรับน้อง รูปแบบการติดต่อสื่อสาร ประเพณี การให้รางวัลการลงโทษ เช่น อียิปต์ ถอดรองเท้าวางประกบกัน(ฝุ่ นทราย)
ประเภทภาษา : เรื่องเล่า/ประวัติศาสตร์ ชื่อ ชื่อเล่น ศัพท์เทคนิค คำศัพท์เฉพาะที่ใช้ในหน่วยงาน เรื่องตลกในหน่วยงาน คำอธิบาย วีรชน ทรชน คำอุปมาอุปมัย คำขวัญ เช่น ของนิด้า คือ B Of K, บูรณาการ , paradigm, change agent
2. ค่านิยม (Values) ค่านิยมเป็นสิ่งที่ตกลงร่วมกั นในองค์การว่าอะไรดีอะไรไม่ดี อะไรควรทำหรืออะไรไม่ควรทำ เป็นการตีความ เป็นหลักการ เป้าหมายและมาตรฐานทางสังคม เป็นสิ่งที่บอกว่าสมาชิกสนใจใส่ ใจเรื่องใด จะเป็นระดับที่ลึกกว่าระดับแรก
ค่านิยมกับบรรทัดฐานหรือธรรมเนี ยมปฏิบัติ (Norm) จะต่างกัน ตรงที่ค่านิยมจะเกี่ยวข้องกั บนามธรรม เช่น การมีวินัย การตรงต่อเวลา...... ความซื่อสัตย์ ความดี ความโปร่งใส ความมีน้ำใจ........ แต่บรรทัดฐานจะเป็นรูปธรรม เช่น การเข้าคิว ถือเป็น Norm การไม่เปิดมือถือในห้องเรียนถื อเป็น Norm แต่ Norm จะถูกกำหนดโดยค่านิยม ต้องสร้างค่านิยมก่ อนมากำหนดธรรมเนียมปฏิบัติ เช่น การปิดมือถือในห้องเรียนเป็ นบรรทัดฐานที่มาจากค่านิ ยมของการรู้จักเกรงใจคนอื่น การใส่เครื่องแบบมาจากค่านิ ยมความเป็นระเบียบ
การกำหนดค่านิยม สามารถทำได้ง่าย และการปฏิบัติยากต้องมีการกำหนด norm กำกับด้วยทุกครั้ง เช่น การตรงต่อเวลา กำกับด้วย เวลา 8.00 น. พร้อมนั่งโต๊ะทำงานทุกคน ไม่ใช่มาเซ็นชื่อแปดโมง แต่ตัวไม่อยู่ทำงาน ไปทางข้าว ไปคุยกับคนอื่น
ในองค์การจะมีคำว่า Core Values คือค่านิยมหลักขององค์การ ทุกคนปฏิบัติ เข้าใจตรงกัน และทำให้บรรลุพันธกิจหรือวัตถุ ประสงค์หรือเป้าหมายได้ ซึ่งค่านิยมหลักจะต้องสอดคล้ องกับธุรกิจหลักขององค์กร เช่น ธนาคารค่านิยมหลักคือความซื่อสั ตย์ โรงพยาบาลค่านิยมหลักคือคุณภาพ ธุรกิจน้ำมันค่านิยมหลักขององค์ การธุรกิจน้ำมันคือความปลอดภั ยนอกเหนือไปจากค่านิยมอื่นๆคื อคุณภาพน้ำมัน
เพราะฉะนั้น Core Values จะต้อง
– สอดคล้องกับเป้าหมาย วัตถุประสงค์ขององค์การ
- สอดคล้องกับพันธกิจ
สอดคล้องกับธุรกิจ
แต่ละองค์การจะมีค่านิยมหลักไม่ เหมือนกัน จะเป็นค่านิยมที่สนับสนุนให้ธุ รกิจประสบความสำเร็จ และจะไม่เปลี่ยนแปลงง่าย จะไม่ใช่ Maximize profit ในองค์การอมตะ
3. ฐานคติ (Assumptions) เป็นระดับวัฒนธรรมที่สมาชิ กในองค์การแสดงออกโดยอัตโนมัติ แสดงออกโดยไม่รู้สึกตัว (Unconsciously) เป็นสิ่งที่คนในองค์กรคิดว่าถู กต้อง และต้องทำ สิ่งที่จะต้องทำมาเป็น Assumptions จะเป็นค่านิยมร่วมขององค์การหรื อ Core Values
EX: บริษัท Shell ที่มีค่านิยมเรื่องความปลอดภั ยเป็นค่านิยมหลักขององค์ การและคนในองค์การจะมีวั ฒนธรรมเรื่องความปลอดภัยเป็ นบรรทัดฐาน เช่นมีงานสัมมนาขององค์การ พิธีกรจะกล่าวทักทายผู้ร่วมสั มมนาและพูดถึงประตูหนีไฟก่ อนประเด็นอื่นๆ แสดงว่าความปลอดภัยเป็น Assumption ของพนักงานในบริษัท เป็นต้น
สรุป : ระดับที่ 1 จะเปลี่ยนง่ายที่สุด ส่วนระดับ 3 เปลี่ยนยากที่สุด
เอ็ดการ์ ชายน์ (Edgar Schein) เสนอวัฒนธรรมองค์การมี 3 ระดับ คือ
1. วัฒนธรรมทางกายภาพ (Artifacts) : วัฒนธรรมทางกายภาพที่มนุษย์สร้
ประเภทกายภาพ : ศิลปะการออกแบบ Logo ตึก อาคาร/การตกแต่ง การแต่งตัวเครื่องแบบ วัตถุสิ่งของอุปกรณ์ เฟอร์นิเจอร์ในองค์การ การวาง Lay out เช่น ตึกจะไม่มีชั้น /ห้อง 13 ในอเมริกา
ประเภทพฤติกรรม : พิธีกรรมรับน้อง รูปแบบการติดต่อสื่อสาร ประเพณี การให้รางวัลการลงโทษ เช่น อียิปต์ ถอดรองเท้าวางประกบกัน(ฝุ่
ประเภทภาษา : เรื่องเล่า/ประวัติศาสตร์ ชื่อ ชื่อเล่น ศัพท์เทคนิค คำศัพท์เฉพาะที่ใช้ในหน่วยงาน เรื่องตลกในหน่วยงาน คำอธิบาย วีรชน ทรชน คำอุปมาอุปมัย คำขวัญ เช่น ของนิด้า คือ B Of K, บูรณาการ , paradigm, change agent
2. ค่านิยม (Values) ค่านิยมเป็นสิ่งที่ตกลงร่วมกั
ค่านิยมกับบรรทัดฐานหรือธรรมเนี
การกำหนดค่านิยม สามารถทำได้ง่าย และการปฏิบัติยากต้องมีการกำหนด norm กำกับด้วยทุกครั้ง เช่น การตรงต่อเวลา กำกับด้วย เวลา 8.00 น. พร้อมนั่งโต๊ะทำงานทุกคน ไม่ใช่มาเซ็นชื่อแปดโมง แต่ตัวไม่อยู่ทำงาน ไปทางข้าว ไปคุยกับคนอื่น
ในองค์การจะมีคำว่า Core Values คือค่านิยมหลักขององค์การ ทุกคนปฏิบัติ เข้าใจตรงกัน และทำให้บรรลุพันธกิจหรือวัตถุ
เพราะฉะนั้น Core Values จะต้อง
– สอดคล้องกับเป้าหมาย วัตถุประสงค์ขององค์การ
- สอดคล้องกับพันธกิจ
สอดคล้องกับธุรกิจ
แต่ละองค์การจะมีค่านิยมหลักไม่
3. ฐานคติ (Assumptions) เป็นระดับวัฒนธรรมที่สมาชิ
EX: บริษัท Shell ที่มีค่านิยมเรื่องความปลอดภั
สรุป : ระดับที่ 1 จะเปลี่ยนง่ายที่สุด ส่วนระดับ 3 เปลี่ยนยากที่สุด
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)