วันศุกร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2561

ความมั่นคงอาเซียน


ความมั่นคงอาเซียน
          สมาพันธ์อาสา(ASA) เกิดขึ้นหลังจากและต่อเนื่องจาก Policy of Containment ของสหรัฐฯต่อการแพร่ขยายของลัทธิคอมมิวนิสต์ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และหลังจากนั้น รัฐมนตรีไทย, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) หรือปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) ทำให้เกิดสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(Association of South East Asian Nations: ASEAN) ในวันที่ 8 ส.ค. 2510 (วันอาเซียน) ณ วังสราญรมย์  กรุงเทพฯ
หลังจากนั้นมีการประชุมในระดับรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศหลายครั้งในการประชุม ASEAN Summit และการเกิดขึ้นของ Bangkok Declaration และ ASEAN Charter และการเกิดขึ้นของประชาคมอาเซียน (ASEAN Community - AC) ในปี 2558(2015) ประกอบด้วย 3 เสาหลักคือ APSC  AEC  ASCC คล้ายกับสหพันธ์ยุโรป(EU) งานเสาหลักที่1 ของ ASEAN Community คือ APSC การเมืองและความมั่นคง เป็น Non-traditional Threats ทั้งหมด งานที่ 1) HADR 2) Counterterrorism  3) PKO  4)ความมั่นคงทางทะเลร่วม (Maritime Security)   5) การเก็บกู้ทุ่นระเบิด  สำหรับแนวคิดกองกำลังอาเซียนในสงครามตามแบบ มีอุปสรรคมาก เนื่องจากหลายประเทศในอาเซียนยังเป็นภัยคุกคามซึ่งกันและกันอยู่ การประชุมสำคัญในกรอบความมั่นคงอาเซียนคือการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ADMM จำนวน 10 ประเทศ ปี 2539 ฝ่ายทหารเริ่มเข้ามามีบทบาทจัดการประชุมเจ้าหน้าที่ กห. (ยกเลิกการประชุมเจ้าหน้าที่ กห. เมื่อมีการประชุม ADMM) ฝ่ายทหารร่วมประชุม ARF ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนอนุมัติให้มีการจัดการประชุม ADMM เมื่อปี 2547        และการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนและคู่เจรจา ADMM Plus มีประเทศคู่เจราจาประกอบด้วย จีน ญี่ป่น เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย สหรัฐฯ และ EU ซึ่งมีการประชุมหลายครั้งแล้วและก่อให้เกิดข้อตกลงและสัญญาจำนวนมากหลังการประชุม นอกจากนี้ยังมีการประชุมในระดับรองลงมาจากรัฐมนตรีกลาโหมอีกหลายระดับของการประชุมการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน  ASEAN Defence Ministers’ Meeting ในเดือน พ.ค. การประชุมคณะทำงานเจ้าหน้าที่กลาโหมอาเซียน ASEAN Defence Senior Officers’ Meeting Working Group ในเดือน เม.ย. การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสกลาโหมอาเซียน ASEAN Defence Senior Officers’ Meeting การประชุมคณะทำงานเจ้าหน้าที่กลาโหมอาเซียนกับคณะทำงานเจ้าหน้าที่กลาโหมคู่เจรจา ASEAN Defence Senior Officers’ Meeting Working Group-Plus ในเดือน ก.พ. การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสกลาโหมอาเซียนกับเจ้าหน้าที่กลาโหมคู่เจรจา ASEAN Defence Senior Officers’ Meeting-Plus 
การประชุมและความร่วมมือในกรอบ ADMM  (กห.)
1.ความร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียนกับองค์กรภาคประชาสังคมในด้านความมั่นคงรูปแบบใหม่ (ASEAN Defence-Civil Society Organisations (CSOs) Cooperation on Non-Traditional Security) (กห.)
2.ความร่วมมือว่าด้วยการใช้ทรัพยากรและศักยภาพทางทหารอาเซียน ในการให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ (The Use of ASEAN Military Assets and Capacities in Humanitarian Assistance and Disaster Relief) (กห.)
3.ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศในกรอบอาเซียน (ASEAN Defence Industry Collaboration) (กห.)
4.ความร่วมมือว่าด้วยเครือข่ายศูนย์ปฏิบัติการรักษาสันติภาพในกรอบอาเซียน (ASEAN Peacekeeping Centers Network) (กห.)
5.ความร่วมมือว่าด้วยโครงการปฏิสัมพันธ์ทางทหารของอาเซียน (ASEAN Defence Interaction Programmes) (กห.)
6.ความร่วมมือว่าด้วยการสนับสนุนด้านการส่งกำลังบำรุงร่วมกันของอาเซียน (ASEAN Logistics Support Framework) (กห.)
7.ความร่วมมือว่าด้วยการจัดตั้งเครือข่ายการติดต่อสื่อสารด้านความมั่นคงอาเซียน (The Establishing ASEAN Defence Communications Link: DCL) (กห.)
8.ความร่วมมือว่าด้วยการประชุมเจ้ากรมพระธรรมนูญ/เจ้าหน้าที่กฎหมายอาวุโสของกลาโหมอาเซียน (ASEAN Judge Advocate General /MOD Senior Legal Officials Meeting) (กห.)

ในส่วนของการประชุม ADMM Plus มีข้อตกลงกลุ่มงานดังนี้
การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทา
ภัยพิบัติ (HADR) (Lao Jap)
ความมั่นคงทางทะเล (MS) (Bru NZ)
การแพทย์ทหาร  (MM) (Tha Rus)
การต่อต้านการก่อการร้าย (CT) (Sin Aus)
การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (PKO) (Cam ROK)
ปฏิบัติการทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม (HMA) (Viet India)


ในส่วนของความร่วมมือ HADR ของอาเซียนมีดังนี้
Recognising that the region is at high risk to natural and human-induced disasters, ASEAN has laid down a policy framework that mandates the programmatic pursuance of disaster management and risk reduction initiatives at regional and national levels. The ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response or AADMER was ratified by all ten Member States and entered into force on 24 December 2009. It has two objectives: (a) reduction of disaster losses, and (b) enhanced regional cooperation in responding to disasters. AADMER is a legally-binding instrument, binding all the ten countries, serving as a common platform in responding to disasters within ASEAN.
We do biding under
ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response or ADDMER which is the regional multi-hazard and policy framework for cooperation, coordination, technical assistance and resource mobilization in all aspects of disaster management in the 10 ASEAN member states.
Through its Standard Procedure for Regional Standby Arrangement and Coordination of Joint Disaster Relief and Emergency Response Operations or SASOP, the ADDMER enables ASEAN member state to mobilize and deploy resources and for emergency response
However We do respect the sovereignty of the affected state according to the United Nation General Assembly resolution 46/182 that “Sovereignty, territorial integrity and national unity of States shall be fully respected in accordance with the Charter on the United Nation”
So humanitarian assistance should be provided with the consent of the affected country and in priciple of the basis of a request by the affected country.
Thailand Ministry of Defence are working in partnership with our National Disaster Management Organization that is Department of Disaster Prevention and Mitigation.
การประชุมความมั่นคงอาเซียนและเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum-ARF) ประชุมครั้งแรก 25 ก.ค. 2537 ณ กรุงเทพฯ การดำเนินงาน 3 ขั้นตอน คือ 1)การเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ  2)การทูตเชิงป้องกัน  3) แนวทางการแก้ปัญหาความขัดแย้ง ASEAN + สหรัฐฯ แคนนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐจีน เกาหลี รัสเซีย อินเดีย(Dialogue Partners) + 1 กลุ่มประเทศ EU + Special Observer: ปาปัวนิวกินี + 6 ประเทศภูมิภาคอื่น : มองโกเลีย เกาหลีเหนือ ปากีสถาน ติมอร์ตะวันออก บังคลาเทศ และ ศรีลังกา ARF มีงานต่างๆดังนี้ 1) การบรรเทาภัยพิบัติ(DR) 2)ความมั่นคงทางทะเล (Maritime Security)    3)การต่อต้านการก่อการร้าย และอาชญากรรมข้ามชาติ(CT and Transnational Crime)  4) การไม่แพร่ขยายและการลดอาวุธ(Non-Proliferation and Disarmament) 5) Confidence Building/Preventive Diplomacy 6) สถานการณ์ในคาบสมุทรเกาหลี และ 7) ARF Experts/Eminent Persons Group (EEPs)

เอกสารอ้างอิง
เอกสารการประชุมการทูตเชิงป้องกัน 2558 ณ โรงแรม Royal Princes กรุงเทพฯ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น